Preisverleihung der Thai-Deutschen Gesellschaft und der Thai-Deutschen Kulturstiftung
Am 2. September 2023 veranstaltete die Thai-Deutsche Gesellschaft die Preisverleihung an 19 Studierende im Hauptfach Deutsch von 9 Universitäten und 2 Studierende von dem International College, Humanities and Languages, der Mahidol Universität.
Bei der diesjährigen Preisverleihung wurde zum ersten Mal das Herbert-Link-Stipendium an Studierende im Hauptfach Deutsch und Musikstudierende im Hauptfach Klavier verliehen. Außerdem bekam die Thai-deutsche Gesellschaft von Khun Ying Dhipavadee Meksawan, Vertreterin von Herrn Harald Link und B. Grimm Group, die Ehre, die Preise zusammen mit Herrn Hans-Ulrich Südbeck, Ständigem Stellvertreter der Deutschen Botschaft, und Prof. Kittikhun Dr. Pornsan Watanangura, Präsidentin der Thai-Deutschen Gesellschaft, auszuhändigen. Ehrengäste waren unter anderem noch Frau Céline Badertsche, Kulturreferentin der Schweizer Botschaft, Herr Johannes Hossfeld, Direktor des Goethe Instituts Bangkok, Herr Fabian Grund, Leiter der Sekundarstufe der Schweizer Schule, Herr Kofi von der Deutschen Botschaft und Herr Tomasz Mazur, CEO von Siemens, und seine Gemahlin.
Dieses Jahr wurde auch die Auszeichnung der TDG-Honorarmitglieder an Ex. Botschafterin der Königlich Thailändischen Botschaft in Berlin und Repräsentativ von Thailand in ASEAN WOMEN PEACE REGISTRY, Khun Nongnuth Phetcharatana, verliehen.
Die Thai-Deutsche Gesellschaft hat jedes Jahr seit ihrer Gründung in den 1960er Jahren die Preisverleihung an Studierende, die Deutsch als Hauptfach studieren, veranstaltet, bis auf die Zeitspanne zwischen 2000 – 2017, in der keine Preisverleihung organisiert wurde. Seit 2017 wird die Preisverleihung in Zusammenarbeit mit der Thai-Deutschen Kulturstiftung regelmäßig durchgeführt. Die Ziele dabei sind, Interesse an Deutschstudium an Unviersitäten in Thailand anzuregen und Studierende im Hauptfach Deutsch zu motivieren. Darüber hinaus sollte die Bedeutung der deutschen Sprache und Kultur in der heutigen Welt betont werden, was auch zur Förderung der gesellschaftlichen, wirtschaftlichen, kulturellen, politischen und außenpolitischen Chancen, zur guten Beziehung und zum guten Verständnis zwischen Thailändern und Deutschen beitragen könnte.
Studierende, die das Herbert-Link-Stipendium bekamen, waren Frau Ratima Thanalapsakul, Musikstudierende im 4. Jahr, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn Universität, und Studierende, die Deutsch als Hauptfach studieren, deren Namen im Folgenden stehen:
– Herr Thitipol Srisong, 4. Jahrgang, und Frau Ornwara Muanboon, 4. Jahrgang, von der Kasetsart Universität
– Frau Supapitch Wongpanya, 4. Jahrgang, und Frau Inthira Saitangjai, 4. Jahrgang, von der Khonkaen Universität
– Herr Natchanon Kriedtharuemal, 4. Jahrgang, und Frau Natthanicha Changkeao, 3. Jahrgang, von der Chulalongkorn Universität
– Frau Bhusuda Reebreng, 1. Jahrgang, und Frau Phannaporn Trongnititham, 1. Jahrgang, von der Chiangmai Universität
– Frau Ammarisa Leesaksakul, 4. Jahrgang, und Frau Natthanicha Painujit, 4. Jahrgang, von der Thammasat Universität
– Herr Theeraphat Boonrit, 4. Jahrgang, und Frau Supakan Limchotinan, 4. Jahrgang, von der Prince of Songkhla Universität
– Frau Kulpassara Tangyanpatt, 4. Jahrgang, und Herr Pasutha Wongduang, 3. Jahrgang, von der Silpakorn Universität
– Herr Patipan Duangjun, 2. Jahrgang, und Frau Thawaree Tharasri, 3. Jahrgang, von der Srinakarinwirot Universität
– Frau Jidapa Thulprakhon, 2. Jahrgang, und Herr Phatchawassa Wisitsakwasin, 3. Jahrgang, von der Ramkhamhaeng Universität.
Außer dem Herbert-Link-Stipendium wurden von der Thai-Deutschen Gesellschaft und der Thai-Deutschen Kulturstiftung Preise an Frau Preuk Bhoomboplub, 4. Jahrgang, und Frau Jattarin Paisitmongkol, 4. Jahrgang, Studierende des International College, Humanities and Languages, der Mahidol Universität ausgehändigt. Die Deutsche Botschaft, vertreten von Herrn Kofi, und die Schweizer Schule, vertreten von Herrn Fabian Grund, überreichten allen Preisträgern auch Geschenke und Bücher.
Im Laufe des Vormittags am 2. September 2023 von 10.00 – 12.00 wurden Lehrende und Studierende von Herrn Werner Schäppi, Vorstandsmitglied der Thai-Deutschen Gesellschaft, durch das Nationalmuseum geführt. Die Führung war in der deutschen Sprache.
Über das Herbert-Link-Stipendium
Herbert Link war der Sohn von Adolf Link, einem deutschen Apotheker, der bei dem Siam Dispensary arbeitete, der ersten westlichen Apotheke Thailands. Siam Dispensary wurde 1878 von Bernhard Grimm, einem deutschen Apotheker, und seinem österreichischen Geschäftspartner Erwin Müller gegründet. Darauf bauend wurde B. Grimm ermöglicht, in unterschiedlichen Bereichen das Geschäft auszubauen und florieren zu lassen.
Nach dem Zweiten Weltkrieg gründete Adolf Link 1949 in Thailand eine eigene Firma, deren Führung Herbert Link übernahm. 1964 öffnete er Abteilungen für Maschinenbau, medizinische Geräte, Stromproduktion, Fernmeldewesen und Klimaanlagen. 1978 kam Harald Link, der jetzige Vorstand von B. Grimm, nach Thailand und fing an, seinem Onkel Herbert bei der Führung der Firma B. Grimm zu helfen, die rasant wuchs.
Bis heute führt B. Grimm seit mehr als 145 Jahren in Thailand ihr Geschäft. Die Firma ist die älteste in Thailand im Bereich der Entwicklung der Infrastruktur und des Gesundheitswesens. Heutzutage ist B. Grimm vertreten in diversen Branchen wie Energie, Industrie, Gesundheitswesen, Life Styles, Kommunikation und Immobilien. Ihr Motto lautet, Geschäfte führen mit Mitgefühl“, damit die Leute und die Gesellschaft davon nachhaltig profitieren.
Programm
Ort:
Goethe-Aula, Thai-Deutsches Zentrum 18/1 Soi Goethe, Attakan Prasit, South Sathorn Soi 1, Bangkok 10120
Zeit:
Samstag, d. 2. September 2023
Vormittag des 2. September um 10.00 Uhr
Deutschsprachige Führung durch das Nationalmuseum für Lehrende und Studierende, von Herrn Werner Schäppi, Vorstandsmitglied der Thai-Deutschen Gesellschaft
Registrierung für die Preisverleihung: 13.35 Uhr
Beginn: 14.15 Uhr
Musikvorführung (Klavier) Frau Ratima Thanalapsakul (4. Jahrgang), Musikstudentin (Klavier als Hauptfach) der Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn Universität
14.30
Bericht der TDG-Präsidentin
Prof. Kittikhun Dr. Pornsan Watanangura
Grußwort des Ständigen Stellvertreters der Deutschen Botschaft, Bangkok,
Herrn Hans-Ulrich Südbeck
Grußwort des Vertreters der Thai-Deutschen Kulturstiftung, Dr. Paiboon Chuangthong
15.00
Preisverleihung
Herbert-Link-Stipendium
Khun Ying Dhipavadee Meksawan
Preise von der Thai-Deutschen Gesellschaft und Thai-Deutschen Kulturstiftung
Preise der Deutschen Botschaft und der Schweizer Schule
16.00
Gruppenfoto
16.20
Auszeichnung der TDG-Honorarmitglieder an Ex. Botschafterin der Königlich
Thailändischen Botschaft in Berlin,
Khun Nongnuth Phetcharatana,
Repräsentativ von Thailand, in ASEAN WOMEN PEACE REGISTRY durch den Ständigen Stellvertreter der Deutschen Botschaft, Herrn Hans-Ulrich Südbeck
Laudatio Prof. Kittikhun Dr. Pornsan Watanangura
16.30
Studentenvorführungen
งานแจกรางวัลเรียนดี Preisverleihung ของสมาคมไทย-เยอรมันและมูลนิธิวัฒนธรรมไทย-เยอรมัน
เสาร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2566/ค.ศ. 2023
ณ ห้องประชุมสถาบันเกอเธ่อ 14.15-18.00 น.
วันที่ 2 กันยายน 2566 สมาคมไทย-เยอรมัน (Die Thai-Deutsche Gesellschaft) จัดงานแจกรางวัลเรียนดีแก่นิสิต/นักศึกษารวม 19 คนที่เรียนเยอรมันเป็นวิชาเอก จาก 9 มหาวิทยาลัย และนักศึกษาสองคนจากมหาวิทยาลัยมหิดล (International Colledge, Humanities and Languages)
สำหรับงานแจกรางวัลเรียนดีครั้งนี้ มีการแจกรางวัลทุน “แฮร์แบร์ต ลิงค์” “Herbert Link” เป็นครั้งแรก อันเป็นหนึ่งในรางวัลที่มอบให้แก่นิสิตนักศึกษาที่เรียนเอกเยอรมัน และสำหรับนิสิตที่เรียนดนตรี (เอกเปียโน) โดย นายฮันส์ อูลริคช์ ซืดเบ็ก อุปทูต อัครราชทูตที่ปรึกษา สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี กรุงเทพฯ เป็นประธานในงาน ทั้งนี้ คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ ให้เกียรติเป็นประธานในการแจกรางวัลทุน “Herbert Link” จากบี.กริมม์ ร่วมกับนายฮันส์ อูลริคช์ ซืดเบ็ก อุปทูต และศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. พรสรรค์ วัฒนางกูร นายกสมาคมไทย-เยอรมัน โดยมีแขกผู้มีเกียรติร่วมงานจากหลายหน่วยงาน ได้แก่ คุณเซลีน บาเดิทเชอร์ (Frau Céline Badertsche) ผู้ช่วยทูตฝ่ายวัฒนธรรมและการศึกษา แผนกการเมืองและเศรษฐกิจ สถานเอกอัครราชทูตสวิตเซอร์แลนด์ คุณโยฮันเนส ฮอสเฟลท์ (Herr Johannes Hossfeld) ผู้อำนวยการสถาบันเกอเธ่อ คุณฟาบิยาน กรุนท์ (Herr Fabian Grund) อาจารย์ใหญ่ฝ่ายมัธยม โรงเรียนนานาชาติสวิส คุณโคฟี (Herr Kofi) ฝ่ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตเยอรมัน กรุงเทพฯ คุณโทมาสซ มาซัว (Herr Tomasz Mazur) CEO ของบริษัท Siemens และภรรยา
พร้อมกันนี้ ได้มีพิธีมอบโล่เกียรติยศ “สมาชิกกิตติมศักดิ์ สมาคมไทย-เยอรมัน” แด่ คุณนงนุช เพ็ชรรัตน์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงเบอร์ลิน และผู้แทนของประเทศไทยใน ASEAN WOMEN PEACE REGISTRY
สมาคมไทย-เยอรมัน ได้จัดกิจกรรมการมอบรางวัลเรียนดีแก่นิสิต นักศึกษาที่เรียนเยอรมันเป็นวิชาเอกในประเทศไทยมาเป็นเวลานานตั้งแต่หลังจากตั้งสมาคมฯ ช่วงหลังของทศวรรษที่ 60 แต่เว้นช่วงไปกว่า 17 ปี หลัง พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) จนได้รื้อฟื้นกิจกรรมนี้ขึ้นมาอีกครั้งในพ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) โดยจัดงานแจกรางวัลร่วมกับมูลนิธิวัฒนธรรมไทย-เยอรมัน (Thai-Deutsche Kulturstiftung) เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมความสนใจในการเรียนเยอรมันในระดับมหาวิทยาลัย และเพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้แก่นิสิตนักศึกษาที่เรียนเยอรมันเป็นวิชาเอก รวมทั้งเน้นให้เห็นความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันในเวทีโลกปัจจุบัน ซึ่ง นับเป็นพื้นฐานในการสร้างโอกาสทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การเมืองและการต่างประเทศ เสริมสร้างสัมพันธ์ไมตรีรวมทั้งความเข้าใจอันดีระหว่างกันของคนไทยและคนเยอรมัน
สำหรับนิสิต/นักศึกษา ที่ได้รับทุน “Herbert Link” ได้แก่ นิสิตดุริยางคศิลป์ตะวันตก (Music student) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิชาเอก เปียโน นางสาวรติมา ธนาลาภสกุล นิสิตชั้นปีที่ 4
ส่วนนิสิต/นักศึกษาที่เรียนเยอรมันเป็นวิชาเอก คือ
– มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายฐิติพล ศรีสงค์ ชั้นปีที่ 4 และนางสาวอรวรา เหมือนบุญ ชั้นปีที่ 4
– มหาวิทยาลัยขอนแก่น นางสาวศุภาพิชญ์ วงศ์ปัญญา ชั้นปีที่ 4 และนางสาวอินทิรา สายต่างใจ ชั้นปีที่ 4
– จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายณัฐชนน เครียดธฤมาล ชั้นปีที่ 4 และนางสาวณัฏฐณิชา ช้างเขียว ชั้นปีที่ 3
– มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นางสาวภูสุดา รีบเร่ง ชั้นปีที่ 1 และนางสาวพรรณพร ตรงนิติธรรม ชั้นปีที่ 1
– มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นางสาวอมริศา ลี้ศักดิ์สกุล ชั้นปีที่ 4 และนางสาวณัฏฐณิชา ไพนุจิตต์ ชั้นปีที่ 4
– มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายธีรภัทร บุญฤทธิ์ ชั้นปีที่ 4 และนางสาวศุภกาญจน์ ลิ่มโชตินันท์ ชั้นปีที่ 4
– มหาวิทยาลัยศิลปากร นางสาวกุลภัสสร์ ตั้งญาณพัฒน์ ชั้นปีที่ 4 และนายพสุธา วงศ์ด้วง ชั้นปีที่ 3
– มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ นายปฏิภาณ ดวงจันทร์ ชั้นปีที่ 2 และนางสาวถาวรีย์ ธาราศรี ชั้นปีที่ 3
– มหาวิทยาลัยรามคำแหง นางสาวจิดาภา ทูลประโคน ชั้นปีที่ 2 และนายพัชวัสส์ วิศิษย์ศักดิ์วาสิน ชั้นปีที่ 3
นอกจากรางวัลทุน “Herbert Link” แล้ว สมาคมไทย-เยอรมันและมูลนิธิวัฒนธรรมไทย-เยอรมันยังได้มอบรางวัลทุนแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล International College, Humanities and Languages สองคน คือ นางสาวพฤกษ์ ภูมิบ่อพลับ ชั้นปีที่ 4 และนางสาวจัทรตรินชร์ ไพสิฐมงคล ชั้นปีที่ 4 และสถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน กรุงเทพฯ โดยคุณ Kofi กับ โรงเรียนนานาชาติสวิส กรุงเทพฯ โดยคุณฟาบียาน กรุนท์ (Herr Fabian Grund) ได้มอบของที่ระลึกและหนังสือแก่นิสิตและนักศึกษาที่ได้รับรางวัลทุกคน
อีกทั้งในช่วงเช้าของวันงานแจกรางวัล วันเสาร์ที่ 2 กันยายน 256610.00-12.00 น. มีการนำนิสิตนักศึกษาและอาจารย์เข้าชมพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพร้อมอธิบายเป็นภาษาเยอรมัน โดย คุณ แวร์เนอร์ แชบพี กรรมการที่ปรึกษาของสมาคมไทย-เยอรมัน
สมาคมไทย-เยอรมัน โดยคุณ แวร์เนอร์ แชบพี กรมการที่ปรึกษาของสมาคมฯ นำนิสิต/นักศึกษาและอาจารย์จากหลายมหาวิทยาลัย ชมพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเป็นภาษาเยอรมัน ในเช้าวันที่ 2 กันยายน 2566
เกี่ยวกับทุน Herbert Link
แฮร์แบร์ต ลิงค์ เป็นบุตรชายของ “อดอล์ฟ ลิงค์” (Adolf Link) เภสัชกรชาวเยอรมันที่เข้ามาทำงานที่ห้างสยามดิสเป็นซารี่ (Siam Dispensary) ร้านปรุงยาตำรับตะวันตกแห่งแรกในประเทศสยาม ห้างสยามดิสเป็นซารี่ เป็นกิจการที่ก่อตั้งโดยเภสัชกรชาวเยอรมัน คือ นาย แบร์นฮาร์ด กริมม์ (Bernhard Grimm) กับหุ้นส่วนชาวออสเตรีย นาย แอร์วิน มืลเลอร์ (Erwin Müller) เมื่อพ.ศ. 2421 (ค.ศ. 1878) ซึ่งช่วยให้บี.กริมม์ สามารถขยายกิจการไปประกอบธุรกิจอื่นที่หลากหลายและเติบโตยิ่งขึ้น
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อดอล์ฟ ลิงค์ ได้เปิดบริษัทในประเทศไทยขึ้นในพ.ศ. 2492 (พ.ศ. 1949) โดยมี แฮร์แบร์ต ลิงค์เข้ามาดูแลกิจการ ตั้งแต่พ.ศ. 2507 (ค.ศ.1964) เขาได้ริเริ่มแผนกที่ดูแลด้านวิศวกรรม อุปกรณ์การแพทย์ การผลิตไฟฟ้า โทรคมนาคม เครื่องปรับอากาศ รวมทั้งวิศวกรรมเครื่องกล และตั้งแต่พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) “ฮาราลด์ ลิงค์” ประธาน บี.กริม คนปัจจุบัน ได้เดินทางมาประเทศไทย และเริ่มเข้ามาช่วยคุณลุงแฮร์แบิร์ตดูแลกิจการทั้งหมดของ บี.กริมม์ที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว
จนถึงทุกวันนี้ บี.กริม ดำเนินธุรกิจในประเทศไทยมายาวนานกว่า 145 ปี กลายเป็นองค์กรด้านการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและการสาธารณสุขที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ปัจจุบัน บี.กริม ประกอบธุรกิจหลากหลายประเภท ทั้งในด้านพลังงาน อุตสาหกรรม สุขภาพ ไลฟ์สไตล์ คมนาคม และอสังหาริมทรัพย์ ภายใต้ปรัชญา “การดำเนินธุรกิจด้วยความโอบอ้อมอารี” ที่มุ่งสร้างประโยชน์ให้กับผู้คนและสังคมอย่างยั่งยืน
กำหนดการ
สถานที่:
ห้องประชุมสถาบันเกอเธ่อ ศูนย์ไทย-เยอรมัน 18/1 ซอยเกเธ่อ แยกอรรถการประสิทธิ์ สาทรใต้ ซอย 1 กรุงเทพฯ 10120
วันที่: วันเสาร์ที่ 2 กันยายน 2566
10.00 น.
นิสิต นักศึกษา และอาจารย์ชมพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพร้อมอธิบายเป็นภาษาเยอรมัน นำโดยคุณ แวร์เนอร์ แชบพี กรรมการที่ปรึกษาของสมาคมไทย-เยอรมัน
13.35 น.
ลงทะเบียนงานแจกรางวัล
14.15 น.
การแสดงดนตรี จากนางสาวรติมา ธนาลาภสกุล นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาดนตรี (เอก เปียโน)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.30 น.
รายงาน โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. พรสรรค์ วัฒนางกูร นายกสมาคมไทย-เยอรมัน
กล่าวต้อนรับและแสดงความยินดี โดย มร. ฮันส์-อูลริชค์ ซืดเบ็ก
อุปทูต อัครราชทูตที่ปรึกษา สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และ
ดร. วิชิต เกียรติศรีชาติ
กรรมการในคณะกรรมการบริหารและกรรมการอำนวยการ มูลนิธิวัฒนธรรมไทย-เยอรมัน
15.00 น.
การแจกรางวัล
ทุน Herbert Link โดย คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์
รางวัล สมาคมไทย-เยอรมันและมูลนิธิวัฒนธธรรมไทย-เยอรมัน
รางวัลของที่ระลึกจากสถานเอกอัครราชทูตเยอรมันและโรงเรียนนานาชาติสวิส
16.00 น.
ถ่ายภาพหมู่
16.20 น.
พิธีมอบโล่ห์เกียรติยศ สมาชิกกิตติมศักดิ์ สมาคมไทย-เยอรมัน แด่
คุณนงนุช เพ็ชรรัตน์
อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงแบร์ลีน
ผู้แทนของประเทศไทย ใน ASEAN WOMEN PEACE REGISTRY
โดย มร. ฮันส์-อูลริคช์ ซืดเบ็ก รองเอกอัครราชทูตเยอรมัน กรุงเทพฯ
ประกาศกิตติคุณ คุณนงนุช เพ็ชรรัตน์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงแบร์ลีน
โดย ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร. พรสรรค์ วัฒนางกูร นายกสมาคมไทย-เยอรมัน
16.30 น.
การแสดงของนิสิต/นักศึกษา
17.30 น.
รับประทานอาหารร่วมกัน (อาหารเยอรมันและอาหารไทย)